โครงการ 1 ปอเนาะ 1 โครงการพัฒนา

บทที่ ๑

บทนำ

โครงการจัดการศึกษาตลอดชีวิตในสถาบันศึกษาปอเนาะ กิจกรรม 1 ปอเนาะ 1 โครงการพัฒนา

โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณสถาบันศึกษาปอเนาะ

๑. ชื่อโครงการ  โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณสถาบันศึกษาปอเนาะ

๒. สอดคล้องนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงานสำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

จุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖6
   
      ๑. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย 

๑.๑ สร้างความปลอดภัยในหน่วยงาน/สถานศึกษา และป้องกันจากภัยคุกคามในชีวิตรูปแบบต่าง ๆ ผ่านกิจกรรม “White Zone กศน. ปลอดภัย ไร้สารเสพติด” เน้นแนวทางการปฏิบัติภายใต้หลักการ ๓ ป. ได้แก่ ป้องกัน ปลูกฝัง และปราบปราม โดยวางแผนและมาตรการด้านความปลอดภัยจากสถานการณ์ต่าง ๆ อาทิเช่น โรคระบาด เหตุการณ์ความไม่สงบ เป็นต้น ให้แก่ผู้เรียน ครู และบุคลากรในรูปแบบต่าง ๆ อย่างเข้มข้น รวมทั้ง ดําเนินการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ติดตามประเมินผลการดําเนินการ เพื่อปรับปรุง พัฒนา และขยายผลต่อไป 

๒. การยกระดับคุณภาพการศึกษา 

๒.๑ ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษานําหลักสูตรฐานสมรรถนะไปสู่การปฏิบัติอย่างเต็มรูปแบบเพื่อสร้างสมรรถนะที่สําคัญจําเป็นสําหรับศตวรรษที่ ๒๑ ให้กับผู้เรียน 

๒.๓ ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคง การสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องในการปกครอง ระบอบประชาธิปไตย การเรียนรู้ที่ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม สร้างวินัย จิตสาธารณะ อุดมการณ์ความยึดมั่น ในสถาบันหลักของชาติ การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของชาติและท้องถิ่น เสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมือง 

๒.๑๑ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน เพื่อสร้างความพร้อมในการจัด

การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตสําหรับประชาชนและมีศีลธรรมที่เข้มแข็ง รวมถึงการมีจิตอาสา โดยผ่านกิจกรรมต่าง ๆ ที่เป็นการเพิ่มทักษะที่จําเป็นต่อการดํารงชีวิต เช่น ทักษะความคิดสร้างสรรค์ การคิดวิเคราะห์ การตัดสินใจ การสื่อสารระหว่างบุคคล การเตรียมพร้อม รับความเปลี่ยนแปลงที่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน ควบคู่ไปกับการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของท้องถิ่น 

๓. หลักการและเหตุผล

          สำหรับกิจกรรม 1 ปอเนาะ 1 โครงการพัฒนาจะต้องเป็นโครงการที่สนับสนุนให้สถาบันศึกษาปอเนาะเป็นต้นแบบและแหล่งเรียนรู้/Best Practice / Good Practice ในด้านต่าง ๆ เช่น กิจกรรมบริหารจัดการขยะ กิจกรรมสร้างสุขภาวะสำหรับผู้เรียน กิจกรรมพัฒนาทักษะการอ่าน กิจกรรมพัฒนามุมส่งเสริมการรู้หนังสือไทย กิจกรรมพัฒนาสถาบันศึกษาปอเนาะให้เป็นแหล่งเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมพัฒนาต่อยอดอาชีพ โดยให้สอดคล้องกับศาสตร์พระราชา ซึ่งกิจกรรมที่จะดำเนินการ ต้องยึดหลักการขับเคลื่อนแบบมีส่วนร่วมระหว่างผู้บริหาร กศน.อำเภอ ผู้บริหารสถาบันศึกษาปอเนาะ ครู กศน. ผู้เรียนในสถาบันศึกษาปอเนาะ และชมรมพัฒนาอาสาปอเนาะ เพื่อเข้ามามีส่วนร่วมกับการพัฒนาปอเนาะอย่างมั่นคง

สถาบันศึกษาปอเนาะ เป็นสถานศึกษาให้เป็นแหล่งเรียนรู้ แหล่งศึกษาค้นคว้าของนักเรียน ครู  ผู้บริหาร  ผู้ปกครอง และชุมชนได้อย่างสมบูรณ์ในเรื่องของศาสนาและสามัญ ตามวิถีชีวิตสังคมมุสลิม ซึ่งเปรียบเสมือนขุมทรัพย์ทางปัญญา  สถาบันศึกษาปอเนาะเป็นแหล่งรวมความรู้ทุกแขนง   ทุกศาสตร์  และสถาบันศึกษาปอเนาะยังเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยสนับสนุนส่งเสริมให้นักเรียนมีนิสัยรักการอ่าน สถาบันศึกษาปอเนาะจึงเปรียบเสมือน เป็นแหล่งบันเทิงประเทืองปัญญา สนองความต้องการของ  สถานที่ และบรรยากาศเอื้อต่อการเรียนรู้ สภาพแวดล้อมภูมิทัศน์นั้นมีความสำคัญต่อสถาบันศึกษาปอเนาะ ความสะอาด ความเป็นอยู่ถือว่าเป็นการจัดการชีวิต การตกแต่งปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สวยงาม เป็นสิ่งที่ทำให้ผู้เข้ามาเยี่ยมเยียนสถาบันปอเนาะนั้น หรือเข้ามาติดต่อประสานงาน เกิดความประทับใจกับสิ่งที่พบเห็น และประการสำคัญถือเป็นการเอื้อต่อการเรียนรู้ให้นักศึกษาอีกทางหนึ่ง ทั้งนี้สถาบันศึกษาปอเนาะดำเนินการจัด พัฒนา ส่งเสริมสถาบันศึกษาปอเนาะให้เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านต่าง ๆ เช่น ด้านศาสตร์พระราชา ด้านอาชีพ ด้านหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นต้น

สถาบันศึกษาปอเนาะ มีพื้นที่และสัดส่วนขนาดใหญ่ที่ยังไม่ได้ใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่ ดังนั้นจึงเห็นควรว่าการปรับปรุงภูมิทัศน์เป็นเรื่องสำคัญ ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอบาเจาะ จึงได้จัดทำโครงการปรับภูมิทัศน์บริเวณปอเนาะ จัดทำมุมที่อ่านหนังสือขึ้น และปรับปรุงสภาพแวดล้อมทางภูมิทัศน์ในสถาบันศึกษาปอเนาะให้เป็นแหล่งการเรียนรู้ สถานที่พักผ่อนหย่อนใจ และเป็นการพัฒนาพื้นที่ต่างๆ ดังกล่าวให้ดีขึ้น สามารถจัดกิจกรรมต่างๆในพื้นที่ได้อย่างคุ้มค่า และประสิทธิภาพ

4. วัตถุประสงค์

๔.๑ เพื่อให้สถาบันศึกษาปอเนาะปรับปรุงสภาพแวดล้อมทางภูมิทัศน์ ในบริเวณสถาบันศึกษา ปอเนาะ ตามแนวทางศาสน์พระราชา

          ๔.๒ เพื่อให้สถาบันศึกษาปอเนาะเป็นแหล่งการเรียนรู้ และเป็นแหล่งศึกษาค้นคว้าตามแนวทางศาสน์พระราชา

๕. เป้าหมาย    

๕.๑ เชิงปริมาณ

      สถาบันศึกษาปอเนาะ

– สถาบันศึกษาปอเนาะมัรกาซอิฮย๊ะอัลฟุรกอน ต.ลุโบ๊ะสาวอ อ.บาเจาะ จ.นราธิวาส

๕.๒ เชิงคุณภาพ

                     – สถาบันศึกษาปอเนาะมัรกาซอิฮย๊ะอัลฟุรกอน  ได้รับการพัฒนาสภาพแวดล้อม

ทางภูมิทัศน์และเป็นแหล่งการเรียนรู้ตามแนวทางศาสตร์พระราชา

๕. ขอบเขตด้านผู้เข้ารับการอบรม

นักศึกษาในสถาบันศึกษาปอเนาะมัรกาซอิฮย๊ะอัลฟุรกอน  จำนวน   49  คน

๔. สถานที่จัดโครงการ

               – สถาบันศึกษาปอเนาะมัรกาซอิฮย๊ะอัลฟุรกอน ต.ลุโบ๊ะสาวอ อ.บาเจาะ จ.นราธิวาส

บทที่ 2

กิจกรรมและการดำเนินงาน

๑.วิธีการดำเนินงาน

          การดำเนินงานเป็นการจัดรูปแบบการฝึกอบรม  การให้ความรู้ด้วยการบรรยายจากวิทยากร  และ การปฏิบัติ ซึ่งขั้นตอนดังนี้

          ๑.๑ ขั้นเตรียมการ

                    – ประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง

                    – แต่งตั้งคำสั่ง  มอบหมายงาน

                    – เสนอโครงการ/อนุมัติโครงการ

                    – ประสานเครือข่ายวิทยากรในพื้นที่

          ๑.๒ ขั้นฝึกอบรม

                    – ผู้เข้ารับการอบรม ลงทะเบียน โดยครูอาสาฯปอเนาะและบุคลากร สกร.อำเภอบาเจาะ

                    – ภาคกิจกรรมอบรมบรรยาย โดยวิทยากร

                    กิจกรรมที่ 1  ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์และเรียนรู้ทฤษฎี วัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในกิจกรรมปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณสถาบันศึกษาปอเนาะ (การเทปูน การฉาบ การก่ออิฐ)

กิจกรรมที่ 2 ปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณสถาบันศึกษาปอเนาะ โดยกิจกรรมที่ดำเนินการ คือ

การปรับปรุงจัดทำแหล่งเรียนรู้ ห้องเรียนสามัญ สถาบันศึกษาปอเนาะ ดำเนินการตามกิจกรรมดังนี้

–   การฉาบ การเทปูน และ แหล่งเรียนรู้ ห้องสมุดใหม่

–   การก่ออิฐ การเก็บรายละเอียดสถานที่

กิจกรรมที่ 3 สรุปรายงานผลการดำเนินงาน

– สรุปผลการจัดกิจกรรม และองค์ความรู้ที่ได้รับ เพื่อใช้ในการพัฒนาสถาบันศึกษาในส่วน

อื่นๆ ต่อไป

          ๑.๓ การประเมินผล/รายงานผล

                    ๑.๓.๑ เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเป็นแบบสอบถามให้ผู้เข้ารับร่วมกิจกรรมตอบ  แบ่งเป็น  ๓  ตอน  ดังนี้

                    ตอนที่ ๑ ข้อมูลส่วนตัวของผู้เข้ารับการอบรม

                    ตอนที่ ๒ ระดับความพึงพอใจ มีลักษณะคำถามเป็นแบบมาตราส่วนประเมินค่า ๕ ระดับ คือ ดีมาก  ดี  ปานกลาง  พอใช้   ปรับปรุง

                    ๑.๓.๒ การเก็บรวบรวมข้อมูล

                              จัดทำแบบสอบถาม จำนวน 30 ชุด ให้ผู้เข้ารับการอบรมตอบหลังจากเสร็จสิ้นโครงการ

                    ๑.๓.๓ การวิเคราะห์ข้อมูล

                     – ใช้วิธีหาค่าร้อยละสำหรับวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากแบบประเมินตอนที่ ๑ และตอนที่

           – ใช้วิธีการหาค่าเฉลี่ยสำหรับวิเคราะห์ความพึงพอใจในโครงการจากแบบประเมิน

๒ ภาคีเครือข่ายที่สนับสนุน

– โต๊ะครู บาบอ ผู้นำชุมชน /ผู้นำศาสนา

          – องค์การบริหารส่วนตำบลลุโบ๊ะสาวอ

          – ห้องสมุดประชาชนอำเภอบาเจาะ

๓ การใช้งบประมาณงบประมาณ

ใช้เงินงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จากแผนงาน : ยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โครงการบริหารจัดการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ กิจกรรมการพัฒนาการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในจังหวัดชายแดนภาคใต้ งบรายจ่ายอื่น รหัสงบประมาณ 20002340036005000005 ค่าใช้จ่ายโครงการจัดการศึกษาตลอดชีวิตในสถาบันศึกษาปอเนาะ ไตรมาส 4 กิจกรรม 1 ปอเนาะ 1 โครงการพัฒนา

๔ ผลการดำเนินงาน

          ตอนที่ ๑ การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้เข้าร่วมโครงการ

          ตอนที่ ๒ การวิเคราะห์ระดับความพึงพอใจของโครงการ

ตอนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของข้อผู้เข้าร่วมโครงการ

ตารางที่ ๑ แสดงเพศของผู้เข้าร่มโครงการ

เพศจำนวน ( คน )ร้อยละ
ชาย3367
หญิง1633
รวม49๑๐๐

จากตารางที่ ๑  ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน  49  แบ่งเป็น

          ชาย     33      คน                คิดเป็นร้อยละ              67

          หญิง    16      คน                คิดเป็นร้อยละ              33

ตารางที่ ๒  แสดงกลุ่มอายุของผู้เข้าร่วมโครงการ

          กลุ่มอายุจำนวน ( คน )ร้อยละ
ต่ำกว่า  ๑๕  ปี36
๑๕ – ๓๙  ปี4490
๔๐ – ๕๙  ปี24
๖๐  ปีขึ้นไป
รวม49100

จากตารางที่ ๒ กลุ่มอายุของผู้เข้าร่วมโครงการเป็นดังนี้

  • ช่วงอายุต่ำกว่า        ๑๕ ปี                       คิดเป็นร้อยละ              6
  • ช่วงอายุระหว่าง      ๑๕ – ๓๙  ปี               คิดเป็นร้อยละ              90
  • ช่วงอายุระหว่าง      ๔๐ – ๕๙  ปี               คิดเป็นร้อยละ              4
  • ช่วงอายุระหว่าง      ๖๐  ปีขึ้นไป               คิดเป็นร้อยละ              –
อาชีพจำนวน ( คน )ร้อยละ
เกษตรกร
รับจ้าง2857
ค้าขาย24
อื่นๆ ( นักศึกษายังไม่ประกออบอาชีพ )1939
รวม49๑๐๐

ตารางที่ ๓ แสดงกลุ่มอาชีพของผู้เข้าร่วมโครงการ

จากตารางที่ ๓  กลุ่มอาชีพของผู้เข้าร่วมโครงการเป็นดังนี้

  • เกษตรกร                        จำนวน    –       คน                 คิดเป็นร้อยละ   –       
  • รับจ้าง                           จำนวน    28    คน                 คิดเป็นร้อยละ   57    
  • ค้าขาย                           จำนวน     2     คน                 คิดเป็นร้อยละ    4
  • อื่นๆ ( นักศึกษายังไม่ประกออบอาชีพ) จำนวน  19   คน         คิดเป็นร้อยละ    39

ตอนที่ ๒  ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ

ตารางที่ ๔  แสดงจำนวนคนที่มีความพึงพอใจและร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ

ที่ด้านระดับความพึงพอใจ
มากที่สุดมากปานกลางน้อย
เนื้อหาวิชาที่จัดการเรียนรู้ตรงตามความต้องการของท่าน47200
964  
วิทยากรมีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้49000
1000  
วิทยากรมีความสามารถในการอธิบายเนื้อหา49000
1000  
เอกสารที่ใช้ประกอบการฝึกอบรม  47200
964  
ความเหมาะสมของสื่อ/อุปกรณ์ที่ใช้ในการฝึก47200
964  
ท่านได้รับความรู้และสามารถฝึกทักษะได้ตามที่คาดหวัง48100
982  
ความรู้และทักษะที่ได้รับสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้48100
982  
ความเหมาะสมของสถานที่49000
1000  
ท่านได้รับโอกาสในการเรียนรู้เท่าเทียมกันเพียงใด47200
964  
๑๐ความเหมาะสมของระยะเวลาที่ใช้ในการฝึกอบรม47200
964  

จากตารางที่  ๔ สรุปจำนวนความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการต่อโครงการมีดังนี้

                      เนื้อหาวิชาที่จัดการเรียนรู้ตรงตามความต้องการของท่าน

ระดับดีมากที่สุด           จำนวน  47      คน                คิดเป็นร้อยละ    96

ระดับดีมาก                จำนวน  2        คน                คิดเป็นร้อยละ    4

                     วิทยากรมีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้

ระดับดีมากที่สุด           จำนวน  49      คน                คิดเป็นร้อยละ    100

ระดับดีมาก                จำนวน  0        คน                คิดเป็นร้อยละ    0

                     วิทยากรมีความสามารถในการอธิบายเนื้อหา

ระดับดีมากที่สุด           จำนวน  49      คน                คิดเป็นร้อยละ    100

ระดับดีมาก                จำนวน  0        คน                คิดเป็นร้อยละ    0

                      เอกสารที่ใช้ประกอบการฝึกอบรม

ระดับดีมากที่สุด           จำนวน  47      คน                คิดเป็นร้อยละ    96

ระดับดีมาก                จำนวน  2        คน                คิดเป็นร้อยละ    4

                      ความเหมาะสมของสื่อ/อุปกรณ์ที่ใช้ในการฝึก

ระดับดีมากที่สุด           จำนวน  47      คน                คิดเป็นร้อยละ    96

ระดับดีมาก                จำนวน  2        คน                คิดเป็นร้อยละ    4

                     ท่านได้รับความรู้และสามารถฝึกทักษะได้ตามที่คาดหวัง

ระดับดีมากที่สุด           จำนวน  48      คน                คิดเป็นร้อยละ    98

ระดับดีมาก                จำนวน  1        คน                คิดเป็นร้อยละ    2

                     ความรู้และทักษะที่ได้รับสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้

ระดับดีมากที่สุด           จำนวน  48      คน                คิดเป็นร้อยละ    98

ระดับดีมาก                จำนวน  1        คน                คิดเป็นร้อยละ    2

           ความเหมาะสมของสถานที่

ระดับดีมากที่สุด           จำนวน  49      คน                คิดเป็นร้อยละ    100

ระดับดีมาก                จำนวน  –         คน                คิดเป็นร้อยละ    –

           ท่านได้รับโอกาสในการเรียนรู้เท่าเทียมกันเพียงใด

ระดับดีมากที่สุด           จำนวน  47      คน                คิดเป็นร้อยละ    96

ระดับดีมาก                จำนวน  2        คน                คิดเป็นร้อยละ    4

           ความเหมาะสมของระยะเวลาที่ใช้ในการฝึกอบรม 

ระดับดีมากที่สุด           จำนวน  47      คน                คิดเป็นร้อยละ    96

ระดับดีมาก                จำนวน  2        คน                คิดเป็นร้อยละ    4

                    โดยภาพรวมท่านมีความพึงพอใจในกระบวนการ/ขั้นตอนของการฝึกอบรมในครั้งนี้

ระดับดีมากที่สุด           จำนวน  48      คน                คิดเป็นร้อยละ    98

ระดับดีมาก                จำนวน  1        คน                คิดเป็นร้อยละ    2

สรุป ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในโครงการเฉลี่ยในระดับ

ระดับดีมากที่สุด           จำนวน  48      คน                คิดเป็นร้อยละ    98

ระดับดีมาก                จำนวน  1        คน                คิดเป็นร้อยละ    2

บทที่ ๓

สรุปผลการดำเนินงานและปัญหา   อุปสรรค ข้อเสนอแนะ

สรุปผลการดำเนินงาน

จากการดำเนินการกิจกรรม 1 ปอเนาะ 1 โครงการพัฒนาในสถาบันศึกษาปอเนาะ สกร.อำเภอ   บาเจาะ ซึ่งมีกลุ่มเป้าหมาย 49  คน สรุปประเด็นดังนี้

  • มีผู้เข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น   49  คน 

                ชาย                    33      คน                          คิดเป็นร้อยละ              67

หญิง                  16      คน                          คิดเป็นร้อยละ              33

  • กลุ่มอายุของผู้เข้าร่วมโครงการเป็นดังนี้ 

ช่วงอายุต่ำกว่า        ๑๕ ปี                       คิดเป็นร้อยละ              6

ช่วงอายุระหว่าง      ๑๕ – ๓๙  ปี               คิดเป็นร้อยละ              90

ช่วงอายุระหว่าง      ๔๐ – ๕๙  ปี               คิดเป็นร้อยละ              4

  • กลุ่มอาชีพของผู้เข้าร่วมโครงการเป็นดังนี้

เกษตรกร              จำนวน    –       คน                 คิดเป็นร้อยละ   –            

รับจ้าง                 จำนวน    28    คน                 คิดเป็นร้อยละ   57      

ค้าขาย                 จำนวน     2     คน                 คิดเป็นร้อยละ    4

อื่นๆ ( นักศึกษายังไม่ประกออบอาชีพ) จำนวน  19   คน         คิดเป็นร้อยละ    39

  • ความพึงพอใจในโครงการเฉลี่ยในระดับ

ระดับดีมากที่สุด      จำนวน  48      คน                คิดเป็นร้อยละ    98

ระดับดีมาก           จำนวน  1        คน                คิดเป็นร้อยละ    2

ดังนั้นสรุปได้ว่า  ผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจในการอบรมอยู่ในระดับ  : มากที่สุด

โดยมีความพึงพอใจในระดับ ร้อยละ 98

ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะในการจัดโครงการ

                    – จากการสอบถามอยากให้มีการจัดแบบนี้อีกอย่างต่อเนื่อง

           สรุปข้อเสนอแนะดังนี้

– อยากให้จัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง